การนอนหลับไม่เพียงพอ

สุขภาพดี

5 นิสัยในชีวิตประจำวันเพื่อการมีชีวิตที่มีสุขภาพดี

นิสัย

“ความมั่งคั่งคือการมีสุขภาพที่ดี” คำกล่าวนี้ใช้ได้กับทุกยุคทุกสมัย โดยเฉพาะในปัจจุบันนี้ที่โรคภัยอยู่รอบๆตัวทุกหนทุกแห่ง เมื่อการมีสุขภาพดีกลายเป็นเรื่องท้าทายสำหรับพวกเรา …

5 นิสัยในชีวิตประจำวันเพื่อการมีชีวิตที่มีสุขภาพดี Read More »

Good sleep นอนเป็นไม่ป่วย

นอนเป็น​ ไม่ป่วย

นอนเป็น​ ไม่ป่วย

good sleep นอนเป็นไม่ป่วย

เคยไหมคะ​ ?จะนอนตอนไหน​ ก็ได้​ ไม่ง่วงก็ทำงานหรือดูหนังไปเรื่อยๆ​จะนอนตอนไหน​   ก็ขึ้นชื่อว่า…ได้นอน​ มีใครเป็นแบบนี้อยู่บ้างไหมคะ​

วันนี้​ จินหาข้อมูลสุขภาพ​กับการนอน เลยอยากเอาข้อมูลมาแบ่งปันค่ะ

บอกเลยว่า​” นอนเป็น​ ไม่ป่วย” การนอนเป็นยาเป็นจุดเริ่มต้นสุขภาพดี​ ที่ต้องดูแลควบคู่ไปกับการทานอาหาร​ การออกกำลังกาย​ การผ่อนคลายความเครียด.

งานวิจัยทั้งในไทยและต่างประเทศพูดถึงฮอร์โมนที่หลั่งจากต่อมไพเนียลในสมองของเราที่ชื่อว่า​ เมลาโทนิน

และมีงานวิจัยเกี่ยวกับ​
ประโยชน์ของฮอร์โมนเมลาโทนิน​ ที่มีผลต่อการดูแลสุขภาพป้องกันอัลไซเมอร์​ ป้องกันและรักษามะเร็ง​ การเกิดความเจ็บป่วยเรื้อรังอื่นๆ​
ความแก่ก่อนวัยก็ด้วย​ และอีกเยอะแยะมากมาย

เมลาโทนิน​ คืออะไร? อ่านข้อมูลเพิ่มเติมจากเว็บไซต์​ รพ.บำรุงราษฎร์ต่อได้นะคะ
https://www.bumrungrad.com/th/health-blog/november-2019/melatonin

[perfectpullquote align=”full” bordertop=”false” cite=”” link=”” color=”#ff0000″ class=”” size=”20″]แล้วไอ้ที่ว่า…
นอนเป็น​ ไม่ป่วยคือยังไง​.[/perfectpullquote]

เกี่ยวก็คือ​ #เมลาโทนิน​ เป็นฮอร์โมนแด๊กคูล่าจะหลั่งมาออกมาตอนกลางคืนช่วงเวลา​ 2​ทุ่มและอยู่ยาวไปถึงเช้าอีกวัน​ แล้วจะหยุดหลั่งตอนเจอแสงสว่าง​ เช่นแสงแดด​ แสงไฟฟ้าก็ด้วยนะคะ

ดังนั่น​ หากเพื่อนๆ​มีปัญหาเกี่ยวกับการนอน​
นอนไม่หลับ​ ไม่หลับไม่นอน​ให้เป็นเวลา​

[perfectpullquote align=”full” bordertop=”false” cite=”” link=”” color=”#ff0000″ class=”” size=”20″]เวลานอนเปิดไฟทำงาน​ เวลากลางวันควรทำงานแต่นอน​
พฤติกรรมแบบนี้ไม่ดีต่อสุขภาพระยะยาวแน่นอนค่าา[/perfectpullquote]

​และมีผลต่อการทำงานของฮอร์โมนเมลาโทนิน​
ซึ่งอาจเป็นต้นเหตุแห่งความเสื่อมชรา​
แก่ก่อนวัย​ โรคเรื้อรัง​ โรคมะเร็ง​
หรือเป็นอัลไซเมอร์ตามมาได้ค่ะ

นอนเป็น

เพื่อสุขภาพที่ดี  นอนกี่ชั่วโมงถึงจะเพียงพอ?

ดร. Eric J.Olson แพทย์ระบบทางเดินหายใจ,ผู้เชี่ยวชาญด้านเวชศาสตร์การนอนหลับ ได้ให้หลักเกณฑ์คำแนะนำชั่วโมงของการนอนหลับไว้ดังนี้

กลุ่มอายุ ปริมาณการนอนหลับที่แนะนำ
ทารกแรกเกิด 14 ถึง 17 ชั่วโมงต่อวัน
12 เดือน ประมาณ 10 ชั่วโมงในเวลากลางคืนบวก 4 ชั่วโมงในการงีบหลับ
2 ปี ประมาณ 11 ถึง 12 ชั่วโมงในตอนกลางคืนบวกกับการงีบหลับตอนบ่าย 1 ถึง 2 ชั่วโมง
3 ถึง 5 ปี 10 ถึง 13 ชั่วโมง
6 ถึง 13 ปี 9 ถึง 11 ชั่วโมง
14 ถึง 17 ปี 8 ถึง 10 ชั่วโมง
ผู้ใหญ่ 7 ถึง 9 ชั่วโมง

ดังนั้นจำนวนปริมาณการนอนก็สำคัญ แต่เวลาเริ่มต้นก็สำคัญไม่แพ้กันเลยค่ะ
นอนเป็น

[perfectpullquote align=”full” bordertop=”false” cite=”” link=”” color=”#ff0000″ class=”” size=”20″]เริ่มวันนี้​ คืนนี้ดีกว่าค่า​ เริ่มไปพร้อมกัน​ เริ่มที่ปรับระบบการนอนให้เป็นเวลา​
แนะว่าควรนอนก่อน​ 4​ ทุ่มนะคะ​[/perfectpullquote]

แล้วเพื่อนๆ ลองสังเกตว่าตื่นเช้าอีกวันจะสดชื่น​ กระปรี้กระเปร่ามากขนาดไหน​ โปร่งโล่ง​สบายยังไง​ อย่าลืมมาเล่าให้จินฟังบ้างนะคะ

นอกจากนี้แล้วการดูแลกิจวัตรประจำวันให้เป็นนิสัยเพื่อสุขภาพที่ดี ก็จะมีผลต่อสุขภาพในระยะยาวด้วยค่ะ

ด้วยรักและปรารถนาดี
ด้วยความห่วงใยค่า

MeHealth​ ​สุขภาพดีเริ่มที่เรา

@Line เพื่อพูดคุยทักทาย ปรึกษาปัญหาได้ที่ปุ่มนี้เลยค่ะ

เพิ่มเพื่อน

นอนเป็น​ ไม่ป่วย Read More »

Scroll to Top